การปฏิรูปการศึกษาเพื่อปลดแอกการศึกษาไทยจากการครอบงำ
ความคิดแบบตะวันตก
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค พรหมวงศ์
ประธานมนตรีปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชน
ในช่วง พ.ศ. 2559-61 คณะนักการศึกษาไทย โดยการนำของ ดร.รุ่ง
แก้วแดง อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา ได้จัดตั้งกลุ่มไลน์
สภาปฎิรูปการศึกษาภาคประชาชน
และจัดตั้งคณะมนตรีปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชนขึ้น โดยมี ดร.รุ่ง
แก้วแดง เป็นประธาน คนแรก และศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์
เป็นเลขาธิการ เพื่อทำการปฎิรูปการศึกษาของไทย
โดยดำเนินการตามขั้นตอน ๕ ขั้นคือ ขั้นที่ ๑ ธันวาคม
๒๕๕๙-เมษายน ๒๕๖๐--
ระดมสมองปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
ประมวลปัญหาและข้อเสนอแนะได้ ๑๓๘ ประเด็น จากสมาชิกสภาปฏิรูป ๕๖๐
คน ประเด็นปัญหา โปรดคลิ้ก เพื่ออ่าน
http://www.buddhabirthplace.com/chaiyongvision/pdf/138Issues.pdf
ขั้นที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๐-สิงหาคม ๒๕๖๐
--จัดทำร่างเอกสารปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชน
(เอกสารปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชน โปรดคลิ้กเพื่ออ่าน
http://www.buddhabirthplace.com/chaiyongvision/pdf/EdReform.pdf
ขั้นที่ ๓
จัดสัมมนาวิพากย์ร่างเอกสารปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชน ณ
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขั้นที่ ๔ กันยายน
๒๕๖๐-ธันวาคม ๒๕๖๐--ร่าง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติภาคประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๐
โปรดคลิ้กเพืออ่าน
http://www.buddhabirthplace.com/chaiyongvision/pdf/EdLaw.pdf
ขั้นที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑-มีนาคม
๒๕๖๑--ร่างแผนการศึกษาชาติภาคประชาชน พ.ศ. ๒๕๖๑
โปรดคลิ้กเพืออ่าน
http://www.buddhabirthplace.com/chaiyongvision/pdf/EdPlan.pdf
การปรับโลกทรรศน์การศึกษาไทย
มากกว่าร้อยปี แห่งการหลงทาง
ตอนที่ ๒ การหลงทางของการศึกษาไทย
โดย
"จพย. คุรุศาสตร์ไพศาล
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา
เมื่อประเทศไทยมีนักการเมืองและผู้บริหารประเทศที่มีเล่ห์เหลี่ยม
แพรวพราวในการโกงชาติกินแผ่นดิน และมีผู้หลงเชื่อ
มีศรัทธาในกลุ่มนักการเมืองเหล่านั้น
เพียงเพราะได้รับอามิสเพียงไม่กี่เศษธุลี
ของเงินทองที่พวกนักการเมืองคดโกงจากแผ่นดินโยนให้
สะท้อนให้เห็นความล้มเหลวของการศึกษาไทย
โดยเฉพาะในระดับการศึกษาพื้นฐาน คือ อนุบาล
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ที่ไม่สอนให้นักเรียนมีวิจารณญาณ
หัดวิเคราะห์และไม่เชื่อคนง่าย ครูเน้น "สอนหนังสือ" มากกว่า
"เน้นการฝึกทักษะการดำเนินชีวิต"
หลักสูตรบรรจุเนื้อหามากกว่าสาระส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาฝรั่ง
จึงกลายเป็น "ขยะหลักสูตร" สำหรับนักเรียนส่วนใหญ่
ที่ไม่จำเป็นต้องรู้หรือไม่มีโอกาสศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย
ครูต้องนำเวลาไปใช้สอนเนื้อหาสาระฝรั่ง
ที่แทบจะไม่ได้นำไปใช้เมื่อเรียนจบระดับประถมหรือมัธยมไปแล้ว
นักเรียนจึงไม่มีเวลาสำหรับเรียนหลักสูตรชีวิต
ทำไมสถาบันการศึกษาต้องมีธรรมนูญหรือกฎบัตรองค์กร
โดย ศาสตราจารย์
ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ปัญหาที่มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาทุกระดับเผชิญอยู่ในขณะนี้คือ
การบริหารและการจัดการแบบตัดตอน (Transactions) แทนที่จะเป็นการบริหารและการจัดการแบบเปลี่ยนผ่าน
(Transformation) ทำให้การบริหารและการจัดการขาดความต่อเนื่องเพราะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภามหาวิทยาลัย
หรือ
เปลี่ยนแปลงอธิการบดี
โครงการหรือกิจกรรมที่กำลังดำเนินอยู่ก็อาจถูกระงับโดยผู้บริหารชุดใหม่
สภาสถาบันและผู้บริหารระดับอธิการบดี
ผู้อำนวยการ
อาจารย์ใหญ่
หรือครูใหญ่
ส่วนใหญ่บริหารและจัดการตามความคิดของตัวเอง
แม้จะมีสภาสถาบันหรือคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นองค์คณะบุคคลในการกำหนดอุดมการณ์
(ปรัชญา ปณิธาน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ)
เป้าหมาย นโยบาย
มาตรการ กลยุทธ์
และตัวบ่งชี้ก็ตาม
แต่สภาสถาบันและคณะกรรมการสถานศึกษาส่วนใหญ่ไม่ดำเนินตามบทบาทและอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
หรือ
แสดงบทบาทอำนาจหน้าที่ตามดุลยพินิจตนเองจนบ่อยครั้งเกิดความเสียหายแก่สถาบัน
(ไฟล์
ตัวอย่างธรรมนูญมหาวิทยาลัย
PDF โปรดคลิ้ก)
|
อ่านตำนานเมืองร้อยเอ็ดใหม่
คติประจำใจ:
"ปราศจากความพยายามที่ทุรนทุราย
จะหาความเป็นเลิศ มิได้เลย"
ประธานมูลนิธิศาสตราจารย์
ดร.ชัยยงค์
พรหมวงศ์
ประธานสถาบันพัฒนานวัตกรรมและวิจัยการศึกษา
อดีต:
ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ ผู้พัฒนา
ระบบการสอนทางไกล "แผนมสธ." อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมการ
(Dhammakaya Open University-DOU), Asuza, California (2001)
อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
อนุกรรมาธิการอุดมศึกษา
วุฒิสภา
และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
คณะกรรมาธิการการศึกษา ศาสนา
และวัฒรธรรม วุฒิสภา
รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
และรองอธํิการบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ผู้อำนวยการสำนักฝึกอบรม
เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
สถาบันพระปกเกล้า
ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
UNESCO/UNDP
Expert (Indonesia, Sri Lanka, Maldives, Laos, Malaysia, Japan, India, Pakistan)
โปรดคลิ้ก
ใใบประกาศเกียรติคุณผลงานศาสตราจารย์
ดร.ชัยยงค์
พรหมวงศ์
ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน
Who's
Who
in
the
World
(Twenty
Seventh
Edition
2010)
โดยความเห็นชอบของ
Marquist
Who's
Who
Publication
Board
สหรัฐอเมริกา
ในฐานะผู้ที่สร้างผลงานทางวิชาการ
และวิชาชีพดีเด่น
และได้บำเพ็ญตนเป็นประโยชน์
ต่อความเจริญของสังคม
|